การเขียน คือ วิธีการสื่อสารชนิดหนึ่งของมนุษย์ เป็นการแสดงความรู้สึก ความคิด ความรู้ ความต้องการ เป็นลายลักษณอักษร เป็นให้ผู้รับสารได้ทราบ
ความสำคัญในการเขียนในชีวิตรประจำวัน
1) ช่วยใหัมนุษย์ถ่ายทอดความคิด ความเข้าใจ และประสบการณ์ของตนสู่ผู้อื่น
2) เป็นการบันทึกข้อมูล ข้อความ เรื่องราว ที่ผ่านการกลั่นกลองความคิดและจัดระเบียบไว้ดีแล้ว
3) ใช้เป็นหลักฐานทางความคิดและบันทึกเหตุการณ์ทางสังคม เป็นเอกสารทางประวัติศาสตร์ที่มีคุณ
ค่าเมื่อเวลาผ่านไป
4) เป็นวิธีการถ่ายทอดภูมิปัญญา ความคิด ความเชื่อ จากรุ่นหนึ่งสู่รุ่นหนึ่ง
5) ใช้การเขียนพัฒนาความคิด จัดลำดับความคิด และเพิ่มพูนทักษะการสื่อสาร
วัตถุประสงค์
1) การเขียนเพื่อเล่าเรื่อง
2) เขียนเพื่ออธิบาย ชี้แจง ให้เข้าใจชัดเจน
3) เขียนเพื่อเสริมสร้างจินตนาการ
4) เขียนเพื่อจูงใจ
5) เขียนเพื่อปลุกใจ
6) เขียนเพื่อแสดงความคิดเห็น วิพากษ์วิจารหรือเเนะนำ
ประเภทของการเขียน
แบ่งตามรูปแบบ
ร้อยแก้ว หมายถึง การเขียนแบบเขียนไปเรื่อยๆ
ร้อยกรอง หมายถึง การเขียนแบบการแต่งเป็นกลอนหรือโครง
แบ่งตามเนื้อหา
เชิงสารคดี หมายถึง งานเสนอที่มุ่งนำเสนอข้อเท็จจริง ข้อมูล
เช่นบทความ ตำรา สารคดีท่องเที่ยว
เชิงบันเทิงคดี หมายถึง งานเขียนที่เกิดจากจินตนาการหรือเรื่องสมมติ
เช่น เรื่องสั้น นวนิยาย บทกวี กวีนิพน บทละคร
แนวทางการเขียนเพื่อการสื่อสาร
การวางโครงเรื่อง
โครงเรื่องจำแนกได้ 3 รูปแบบดังนี้
1.1โครงเรื่องแบบหัวข้อ คือ เขียนเป็นข้อๆ
1.2โครงเรื่องแบบประโยคสามัญ คือ เขียนเป็นประโยค
1.3โครงเรื่องแบบละเอียดหรือโครงเรื่องแบบร่างย่อหน้า
ประโยชน์ของการเขียนโครงเรื่อง
1.ช่วยให้ผู้เขียนอธิบายจุดประสงค์ได้ชัดเจน
2.เป็นประโยชน์ในการตรวจสอบ และจัดระเบียบเนื้อเรื่อง
3.ช่วยในการอ่านหนังสือให้เข้าใจเนื้อหาได้ง่ายขึ้น
การเขียนย่อหน้า
1ลัษณะของย่อหน้าที่ดี
- ไม่จำกัดความยาว ขึ้นอยู่กับความสำคัญของเนื้อหาที่เขียนแต่ไม่ควรยาวจนเกินไป
- ควรมีจุดเด่นและน่าสนใจ
2การสร้าประโยคใจความสำคัญในย่อหน้า ดังนี้
- วางใว้ตอนต้นของย่อหน้า
- วางใว้ตอนกลางของย่อหน้า
- วางใว้ตอนท้ายของย่อหน้า
- วางใว้ตอนต้นเเละตอนท้ายของย่อหน้า
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น